เกษตรกรต้นแบบเครือข่ายลำดวน

เกษตรกรต้นแบบเครือข่ายลำดวน

เครือข่ายศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ต.ตร าดม อ.ล าดวน จ.สุรินทร์
ชื่อ นายสุชาติ สมมีย์
ประวัติ
เกิด 12 กันยายน 2507
ที่อยู่ 109 หมู่ 9 ต าบลตร าดม อ าเภอล าดวน จังหวัดสุรินทร์
ผลงานเด่นเป็นที่ประจักษ์


1. รางวัลชนะเลิศการประกวดเมล่อน รุ่นมืออาชีพ
ปลูกเมล่อนดินก าโพก
เมล่อน มีถิ่นก าเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกา เป็นพืชที่ชอบ อากาศอบอุ่นถึงร้อน อุณหภูมิที่เหมาะส าหรับ
การปลูกเมล่อนคือ 25 – 30 องศา C (ในเวลากลางวัน) และ 18 – 20 องศา C (ในเวลากลางคืน) โดยที่
อุณหภูมิที่ต่างกันของเวลา กลางวันกับกลางคืนนี้จะมีผลต่อ ความหวาน และคุณภาพของเมล่อนเป็นอย่างมาก
ถ้าความแตกต่างของอุณหภูมิยิ่งมีมากจะท าให้ความหวาน และคุณ
นายสุชาติ สมมีย์ อยู่ที่บ้านโคกปันโร หมู่ที่ 9 ต.ตร าดม อ.ล าดวน จ.สุรินทร์ ที่นี่เป็นเครือข่ายศูนย์
เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร แหล่งปลูกเมล่อน และแหล่งเรียนรู้การปลูกเมล่อน ซึ่งมี
หลากหลายสายพันธุ์ เช่น พันธุ์แจ่มจันทร์ , อัคนี , จันทร์ฉาย , จันทร์หอม ,บารมี ทุกสายพันธุ์ล้วนแล้วแต่มี
ความตั้งใจในการเพาะปลูกด้วยดินก าโพก ซึ่งเป็นสายดินที่หอมที่สุด เมล่อนที่มีรสชาติหวาน มีกลิ่นหอมที่
เป็นเอกลักษณ์
การเตรียมดิน
ดินที่ปลูก ควรเป็นดินร่วนปนทราย ไถดะ ให้ลึกประมาณ 20-30 ซม. ตากแดดทิ้งไว้ เพื่อฆ่าเชื้อโรค
13 – 15 วัน โดยจ าต้องปิดโรงเรือนที่ปลูกให้สนิท พยายามไม่ให้มีอากาศถ่ายเท เพราะเราต้องการเพิ่ม
อุณหภูมิให้สูงขึ้น ดูค่า pH ที่เหมาะสมจะอยู่ในช่วง 6.5 – 7 ถ้าดินเป็นกรดให้ใส่ปูนขาวช่วยให้ใส่ปุ๋ยหมัก
หรือปุ๋ยคอก และท าการไถแปร หลังจากนั้นให้พรวนดิน พร้อมกับยกแปลงให้สูงขึ้น 35 ซม. สันแปลงห่างกัน
1.5 เมตร วางสายน้ าหยด ในลักษณะหงาย ให้น้ า เพื่อความชุ่มชื่นของดิน คลุมด้วยพลาสติก เพื่อรักษา
ความชื้นให้กับดินและกับวัชพืช พร้อมกับเจาะหลุมปลูกไว้ให้ห่างกันประมาณ 50 x 60 ซม.
วิธีการเพาะกล้าเมล่อน
1. การบ่มเมล็ด การบ่มเมล็ดให้เริ่มเหมือนการบ่มทั่วๆไปคือ แช่เมล็ดพันธุ์ในน้ าผสมอโทนิค โดย
อัตราส่วนคือ น้ า 1 ลิตรกับอโทนิค 1 cc. แช่เมล็ด 20 นาทีเมื่อแช่จนครบก าหนดเวลาแล้ว ให้วางบนผ้าขาว
บาง หรือกระดาษเพาะกล้า น าถุงพลาสติกมาห่ออีกครั้งและเก็บไว้ในที่มิดชิด และอยู่ในอุณหภูมิประมาณ
27-30 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 1 วัน


2. เพาะกล้า
น าดินใส่ลงไปในถาดเพาะกล้า โดยให้วางท ามุม 45 องศา ในแนวนอน โหยให้รากแทงลงในดิน ต้องระวังไม่ให้
รากอ่อนเสียหาย และกลบด้วยดินเล็กน้อย พร้อมกับรดน้ าให้ชุ่มหลังจากนั้น น าถาดเพาะกล้าไปเก็บในที่ๆมี
แสงแดด หรือเก็บโรงเพาะกล้าในระยะ 10-15 วัน ต้องรดน้ าให้ชุ่มอยู่ตลอดทุกวัน
3. ย้ายกล้า
เริ่มย้ายตั้งแต่อายุไม่เกิน 15 วัน หรือ เห็นใบแท้ออกมาได้ประมาณ 2 ใบ สิ่งที่ควรท าและต้องระวังในระหว่าง
ย้ายกล้า ก่อนย้ายกล้าลงแปลงปลูก ต้องรดน้ าแปลงปลูกให้ชุ่มเป็นเวลา 2 วัน ควรระวังไม่ให้รากขาดหรือ
ได้รับการกระทบกระเทือนมาก เพราะจะท าให้การเจริญเติบโตไม่ดีฉีดยาป้องกันเชื้อรา หากต้องย้าย ไปที่ห่าง
กันมากๆ เมื่อไปถึง ต้องพักต้นกล้าก่อนอย่างน้อย 1-2 วันช่วงเวลาที่เหมาะสมในการย้ายกล้า คือช่วงเย็น
เพราะอากาศจะไม่ร้อน ความกว้างของหลุมปลูก ควรมรขนาดพอๆกับหลุมถาดเพาะกล้า กลบดินต้นกล้าเมื่อ
ย้ายเสร็จแล้ว การขึ้นยอดและเตรียมค้าง ช่วงเวลาที่ควรใช้ในการขึ้นยอดที่สุดคือช่วงเช้า
การจัดเถาของเมล่อน คือ 1 เถา ต่อ เมล่อน 1 ต้น และเมื่อเริ่มออกยอด ให้ท าการพันยอดไว้กับ
เชือก พยายามอย่าปล่อยให้ยอดเลื้อย ควรท าอย่างน้อย 2 วัน/ครั้ง
การเด็ดแขนง หลังย้ายแปลงปลูกเสร็จแล้วประมาณ 9-1วัน ให้เด็ดแขนงข้อที่ 1-8 ออก ช่วงเวลาที่ควรท า
คือช่วงเช้า และควรท าในช่วงที่ขนาดยังไม่ใหญ่ เพราะแผลจะแห้งเร็วกว่า หลังจากนั้น พ่นกันเชื้อราในตอน
เย็น การเด็ดแขนงมีส่วนช่วยท าให้ ยอดเจริญเติบโตได้เร็วขึ้น ไว้แขนงก่อนผสม และ การตัดแต่งแขนง เด็ด
ยอดแขนงให้เหลือ 2 ใบ เลี้ยงแขนงข้อ 9-12 เพื่อไว้ผสม เหนือจากข้อ 12 ให้เด็ดแขนงย่อยออก ในข้อ 25
ให้เด็ดใบให้เหลือประมาณ 22- 25 ใบดอกเมล่อน
ผสมเกสร ช่วงเวลาที่เหมาะสม แก่การผสมเกสรคือช่วง 7.00 – 10.00 น. เช้า เลือกผสมดอก 2-3
แขนง/ต้น ดอกตัวผู้จะอยู่บริเวณข้อบนของล าต้น จดบันทึกจ านวนดอกที่ผสม ยึดผลกับค้างที่ไว้ใช้ยึดต้นเม
ล่อน และใช้เชือกคล้องที่ขั้วผล เพื่อรองรับน้ าหนักให้เลือกผลที่มีรูปทรงไข่ ผลสมบูรณ์, ใหญ่, ไร้รอยขีดข่วนไม่
มีโรคและแมลง เมื่อคัดได้ลูกที่ดีที่สุดแล้ว ให้เหลือเพียงแค่ผลเดียวเท่านั้นภายหลังที่ผสมเกสร 18 วัน ควรเพิ่ม
ปุ๋ยและน้ า เพื่อให้ผลเจริญเติบโตได้เต็มที่ควรให้ผลได้รับแสงสม่ าเสมอ และอยู่ในที่โปร่ง
การเก็บเกี่ยวและระยะเวลา
ระยะเวลาจะประมาณ 40-45 วัน หลังจากผสมดอกแล้ว ขึ้นอยู่กับแต่ละสายพันธุ์ และฤดูกาลด้วย โดย
ในช่วงระยะผลเริ่มสุก ความต้องการน้ าของเมล่อนจะลดน้อยลงตาข่ายเริ่มขึ้นนูนเห็นได้ชัด สีเริ่มเขียวเข้ม ดูที่
ก้นผล ถ้าก้นผลนิ่ม แสดงว่าสุกมากเกินไปต้นต้องไม่มีโรคตรงขั้วของผลจะยกนูนขึ้นในขั้นตอนการเก็บเกี่ยว ไม่
ควรวางเมล่อนไว้บนพื้น ควรหาภาชนะมาใส่จะดีที่สุดควรเก็บไว้ในที่อุณหภูมิไม่สูงและไม่โดนแดด เพื่อลดการ
หายใจของตัวเมล่อน
การเก็บรักษา
ระยะเก็บรักษาจะอยู่ได้ประมาณ 2-3 สัปดาห์จะต้อง ไม่มีโรค และแมลง ติดมาด้วย หลังจากเก็บให้ล้างท า
ความสะอาด และเก็บในอุณหภูมิประมาณ 10 องศาเซลเซียส โดยไม่เปลี่ยนแปลงอุณหภูม

 

 

ดาวห์โหลดเอกสารที่นี่